กฎหมาย "PDPA" ข้อมูลส่วนบุคคล
กฎหมาย "PDPA" คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เริ่มบังคับใช้ตั้งเเต่ต้นเดือนมิถุนายน หลายคนยังสงสัยโดยเฉพาะ การถ่ายรูป กล้องวงจรปิด โพสต์ภาพลงโซเชียล อาชีพสื่อมวลชนจะต้องปฎิบัติอย่างไรเเละสิทธิ์ที่พึงมีของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล

กฎหมาย "PDPA" ข้อมูลส่วนบุคคล

กฎหมาย "PDPA" คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เริ่มบังคับใช้ตั้งเเต่ต้นเดือนมิถุนายน หลายคนยังสงสัยโดยเฉพาะ การถ่ายรูป กล้องวงจรปิด โพสต์ภาพลงโซเชียล อาชีพสื่อมวลชนจะต้องปฎิบัติอย่างไรเเละสิทธิ์ที่พึงมีของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล

พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มีขึ้นเพื่อให้ภาคเอกชนและภาครัฐ (บุคคล/นิติบุคคล) ที่เก็บรวมรวม ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลในประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลโดยจัดให้มีมาตรการปกป้องข้อมูลของผู้อื่นจากการถูกละเมิดสิทธิส่วนตัว มีความเป็นธรรมเเละโปร่งใสต่อเจ้าของข้อมูล ต้องมีฐานการประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กฎหมายกำหนด การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล ก่อนการเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลเป็นเพียงหนึ่งในเจ็ดฐานการประมวลผล เป็นกฎหมายแรกของไทยที่ให้ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเป็นระบบเเละสอดคล้องกับเเนวทางสากล โดยให้มีหน่วยงานของรัฐที่มีความเป็นอิสระทำหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมาย มีผลบังคับใช้ผูกพันระหว่างผู้ที่เป็นเจ้าของข้อมูล กับผู้เอาไปใช้ ทั้งภาครัฐ เอกชน หน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไร คนธรรมดา และนิติบุคคล ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิต่างๆ หลายประการใต้เงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด

ถ่ายภาพได้ไหม ไม่ได้หารายได้ประกอบธุรกิจกับงานเหล่านั้น ต้องเบลอไหม ก็เเล้วเเต่ อยากทำก็ไม่ผิด ตาม PDPA กฎหมายไม่ได้มายุ่งกับชีวิตส่วนตัว ทั้งถ่ายวิดีโอ ถ่ายรูป กล้องวงจรปิด

อ่านต่อ...

ใน News
กล้องความละเอียด 2MP 3MP.. 8MP ต่างกันยังไง?